สรภชาดก ชาดกว่าด้วยละมั่งทำคุณแก่พระราชา
พระเจ้าพรหมทัตรู้สึกเสียหน้าที่ตนทำให้เจ้าละมั่งหนีไปได้ พระองค์ทรงถือพระขรรค์แล้วทรงวิ่งตามละมั่งไปถึง ๓ โยชน์ และได้ไปตกบ่อลึกเป็นเหวประมาณ ๖๐ ศอก ต่อมาพญาละมั่งได้วกกลับมาช่วยพระองค์ให้ขึ้นจากบ่อน้ำ และให้พระราชาขึ้นประทับบนหลังพาออกจากป่ามาส่งลง ณ ที่ไม่ห่างเสนา
กูฏวาณิชชาดก ชาดกว่าด้วยหนามยอกเอาหนามบ่ง
นายบัณฑิตนั้นไม่ใช่คนโง่ เขาสังเกตเห็นพิรุจหลายอย่างจึงคิดพิสูจน์ว่ารุกขเทวดาที่ต้นไม้นั้นมีอยู่จริงหรือไม่ “ สหายจะให้เราเชื่อเช่นนั้นก็ได้ แต่เราขอพิสูจน์ให้แน่ใจก่อนนะ ” นายบัณฑิตได้เดินไปเก็บฟืนแล้วนำกองไว้ที่โคนต้นไม้ จุดไฟเผาในโพรงไม้นั้น “….เดี๋ยวเถอะจะได้รู้กันว่าเทวดาจริงหรือเทวดาปลอมกันแน่...”
กุมภชาดก ชาดกว่าด้วยโทษของสุรา
“ หม้อใบนี้เป็นหม้อที่มีโทษมาก ผู้ใดดื่มน้ำในหม้อนี้จะเสียผู้เสียคน ควบคุมสติไม่ได้ ทั้งแสดงกิริยาที่ไม่เหมาะสม บ้างก็เหมือนคนบ้า บ้างก็ด่าทอทะเลาะวิวาท ด่าบิดามารดา ฆ่าสมณะชีพราหมณ์ได้ น้ำในหม้อใบนี้เป็นน้ำสุรา หากประสงค์จะเห็นความพินาศของตนและบ้านเมือง ก็จงซื้อไปดื่มเถิด ”
ผลชาดก ชาดกว่าด้วยความสามารถในการดูผลไม้
ณ นครสาวัตถี นอกฤดูพรรษาหนึ่งก่อนที่เหล่าภิกษุสงฆ์จะออกจาริกไปเผยแผ่พระพุทธธรรมตามนิคมแว่นแคว้นต่าง ๆ ชาวพระนครก็มักกราบอาราธนาพระพุทธองค์เสด็จรับภัตตาหารที่บ้านเรือนตนอยู่มิได้ขาด ครั้งหนึ่งทรงรับนิมนต์คหบดีเจ้าของสวนผลไม้ จึงเสด็จนำหมู่ภิกษุสงฆ์ไปตามการอาราธนานั้น ชาวสวนผลไม้จัดพระพุทธอาสนะให้พระพุทธองค์ประทับภายในเคหสถานของตนพร้อมกับพระเถระผู้ใหญ่
สาลิยชาดก ชาดกว่าด้วยหมอผู้โชคร้าย
หมอพิการคนหนึ่ง ได้วางแผนให้เด็กน้อยลูกพ่อค้าปีนต้นไม้ไปเอาลูกนกสาลิกาในโพรงไม้ ซึ่งความจริงแล้วมีงูอยู่ในโพรงไม้นั้น เด็กน้อยหลงเชื่อปีนขึ้นไป เด็กน้อยจับหัวงูได้ก็เหวี่ยงทิ้งทันที ด้วยบุพกรรมที่ทำร่วมกันมาแต่ชาติปางก่อน เด็กน้อยลูกพ่อค้าเหวี่ยงงูเห่ามาทางหมอพิการพอดี งูพิษพันคอหมอพิการ แล้วฝังคมเขี้ยวฉีดพิษร้าย หมอพิการดิ้นทุรนทุรายอย่างทรมาน มิสามารถเยี่ยวยาได้ทัน
โรมชาดก ชาดกว่าด้วยว่าด้วยอาชีวกเจ้าเล่ห์
ในพุทธกาลสมัยนั้น มีเรื่องราวหลากหลายเกิดขึ้น และมีผลกรรมเกี่ยวต่อผู้ที่เกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนาต่างกรรมต่างวาระกัน การแตกแยกของหมู่สงฆ์อันเป็นเรื่องสำคัญยิ่งที่เกิดขึ้นในแคว้นมคธ ซึ่งนับเป็นกรรม เป็นวิบากกรรมของพระเทวทัตที่ตามจองเวรต่อพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
บูชายัญ บูชายัญคืออะไร บูชายัญในทางพระพุทธศาสนาเป็นอย่างไร
บูชายัญคืออะไร คนเราจะโชคดีจากการเข่นฆ่า ทำร้ายผู้อื่น บูชายัญได้หรือไม่ การบูชายัญในทางพระพุทธศาสนาเป็นอย่างไร
ขอเชิญร่วมพิธีเจริญพุทธมนต์ถวายในหลวง ประจำปี 2557 ณ วัดพระธรรมกาย
คณะสงฆ์จังหวัดปทุมธานี กว่า 1,500 รูป เจริญพระพุทธมนต์ถวายในหลวง ในวันพุธที่ 3 ธ.ค. 2557 เวลา 14.30 น. ณ สภาธรรมกายสากล วัดพระธรรมกาย โดยมี พระเดชพระคุณพระเทพรัตนสุธี เจ้าคณะจังหวัดปทุมธานี และ นายพงศธร สัจจชลพันธ์ ผู้ว่าราชการจังหวัดปทุมธานี เป็นประธาน ... ในช่วงพิธีกรรมมีการถ่ายทอดสดผ่าน DMC Channel และเว็บ www.dmc.tv ไป 200 กว่าประเทศทั่วโลก ... ขอเชิญสาธุชนผู้ใจบุญมาร่วมงานบุญโดยพร้อมเพรียงกัน
ประธานกฐินธรรมชัย เป็นได้ทุกคน
ในช่วงก่อนเข้าพรรษา พระเดชพระคุณหลวงพ่อ คุณครูไม่ใหญ่ของเราท่านก็ได้ให้โอวาทเป็นวาทะสั้นๆ ถึงแก่ลูกพระธัมฯทุกท่านว่า "ครั้งหนึ่งในชีวิต...ทุกๆคนควรได้เป็นประธานกฐินที่วัดพระธรรมกาย" ดังนั้น ในวันนี้พระอาจารย์จึงมีเรื่องราวธรรมะดีๆ ในชื่อเรื่องว่า "ประธานกฐินธรรมชัย เป็นได้ทุกคน"
ต้นแบบแห่งความดี
บุคคลพึงเห็นโทษในการปฏิบัติผิดทาง ควรศึกษาไตรสิกขา เพื่อละความดำริผิด ควรศึกษาวิเวก และประพฤติวิเวกอันเป็นกิจของพระอริยเจ้า บุคคลผู้ไม่มีความห่วงใยในกามทั้งหลาย ย่อมข้ามโอฆะที่ข้ามได้โดยยาก