พิจารณาปล่อยวางในขันธ์ ๕
ภาชนะดินที่นายช่างทำแล้วทุกชนิด มีความแตกเป็นที่สุด แม้ฉันใด ชีวิตของสัตว์ทั้งหลายที่เกิดมาแล้ว ล้วนมีความแตกสลายเป็นที่สุดฉันนั้น
บวชหน้าไฟ
คำถาม : ความเชื่อเรื่องบวชหน้าไฟ เวลาญาติผู้ใหญ่เสียชีวิต ต้องบวชกี่วัน บวชวันเดียวพอมั้ยครับ
ถึงพระรัตนตรัย ไม่ไกลนิพพาน
ท่านทั้งหลายจงรับไตรสรณคมน์ จงรับศีลห้า ยังจิตให้เลื่อมใสในพระพุทธเจ้าแล้ว จักทำที่สุดแห่งทุกข์ได้ ท่านทั้งหลายจงดูเราเป็นตัวอย่าง รักษาศีลแล้ว แม้ทุกท่านก็จักได้บรรลุอรหัตโดยไม่นานเลย เราเป็นผู้มีวิชชา ๓ บรรลุอิทธิวิธี ฉลาดในเจโตปริยญาณ เราไม่รู้จักทุคติเลย นี้เป็นผลแห่งการถึงสรณคมน์
สามเณรอุปสมบทอุทิศชีวิต วันวิสาขบูชา พุทธศักราช 2557
สรณะอันเกษม
มนุษย์เป็นอันมาก ถูกภัยคุกคามแล้ว ย่อมถึงภูเขา ป่า อาราม และรุกขเจดีย์ว่าเป็นที่พึ่ง สรณะนั่นแลไม่เกษม สรณะนั่นไม่อุดม เพราะบุคคลอาศัยสรณะนั่น ย่อมไม่พ้นจากทุกข์ทั้งปวงได้ ส่วนบุคคลใดถึงพระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์ว่าเป็นที่พึ่ง ย่อมเห็นอริยสัจ ๔ (คือ) ทุกข์ เหตุให้เกิดทุกข์ ความก้าวล่วงทุกข์ และมรรคมีองค์ ๘ อันประเสริฐ ซึ่งยังสัตว์ให้ถึงความสงบแห่งทุกข์ ด้วยปัญญาอันชอบ สรณะนั่นแลของบุคคลนั้นเกษม สรณะนั่นอุดม เพราะบุคคลอาศัยสรณะนั่น ย่อมพ้นจากทุกข์ทั้งปวงได้
มหาธรรมยาตราธุดงค์ธรรมชัย เพื่อความเข้าใจที่ถูกต้อง
มหาธรรมยาตราธุดงค์ธรรมชัย คืออะไร ธรรมยาตรา คำนี้ หลายคนอาจไม่เคยได้ยิน แต่คำนี้มีมานานแล้ว โดยมีวัตถุประสงค์คือ เพื่อปฏิบัติสมาธิในท่าเดิน ฝึกสติ และสืบทอดธรรมเนียมที่มีมาแต่โบราณกาล คือ การเดินจาริก "ธรรมจาริก"
สามเณรนิโครธ (๑)
ผู้ใดเห็นภิกษุผู้ถึงพร้อมด้วยจรณะ ให้ท่านยืนอยู่เบื้องหน้า ประคองอัญชลีนมัสการแล้ว ผู้นั้นจะได้รับการสรรเสริญในปัจจุบัน เมื่อละโลกนี้ไปแล้ว ย่อมไปสู่สุคติสวรรค์
พุทธวิธีสร้างธาตุทรหด
การเดินธุดงค์ธรรมชัยเป็นการเดินธุดงค์ไปบนเส้นทางที่ยาวไกลมากถึง 446 กิโลเมตร โดยผ่านหลายจังหวัดด้วยระยะที่ต่อเนื่องนานถึง 26 วัน ซึ่งพระภิกษุสงฆ์จากทั่วประเทศที่สมัครใจมาเดินธุดงค์นั้น ท่านต้องถือธุดงควัตรอย่างเคร่งครัด
แผนที่ธุดงค์ธรรมชัย ปีที่ 3 วันที่ 2 - 28 มกราคม พ.ศ. 2557
แผนที่ธุดงค์ธรรมชัย ปีที่ 3 วันที่ 2 - 28 มกราคม พ.ศ. 2557 โครงการธุดงค์ธรรมชัยเส้นทางพระผู้ปราบมาร พระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) ปีที่ 3 ถวายเป็นพุทธบูชา สืบสานวัฒนธรรมชาวพุทธ ฟื้นฟูจิตใจ สร้างบุญใหญ่ให้แผ่นดิน
พระโปฐิลเถระ
การเรียนนิกายหนึ่งก็ดี สองนิกายก็ดี จบพุทธวจนะคือพระไตรปิฎกก็ดี ตามสมควรแก่ปัญญาของตนแล้วทรงไว้ กล่าวบอกพุทธวจนะนั้น ชื่อว่า การศึกษาคันถธุระ ส่วนการเริ่มตั้งความสิ้นไป และความเสื่อมไปในอัตภาพ เจริญวิปัสสนาด้วยอำนาจความเพียรพยายามแล้ว บรรลุพระอรหัต ชื่อว่า วิปัสสนาธุระ